'หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ' ปราชญ์แห่งที่ราบสูง


เพิ่มเพื่อน    

ในสมัยที่พระเทพวิทยาคม (หลวงพอคูณ ปริสุทฺโธ) พระเกจิอาจารยผู้เป็นที่เคารพศรัทธาของคนทั้งประเทศเปนเจาอาวาสวัดบานไร ทําใหเปนที่รูจักของคนทั่วไปเพราะทานเปนพระที่เปยมดวยเมตตา  เขาถึงชาวบานทุกระดับชั้น ดวยวิธีการสั่งสอนอบรมที่เขาใจไดงาย ทําใหวัดบานไร ตําบลกุดพิมาน  อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ไดรับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบรมวงศานุวงศหลายพระองค ในการเสด็จพระราชดําเนินมาทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ และเสด็จพระราชดําเนินมาทรงนมัสการหลวงพอคูณตามวาระโอกาสตางๆ ดังเชนครั้งที่วัดบานไรไดสรางพระอุโบสถหลังใหม และจะไดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไวที่บุษบกเหนือพระอุโบสถนั้น 

ในครั้งนั้นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนินมาทรงประกอบพิธีบรรจุและอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุขึ้นประดิษฐาน ณ บุษบกเหนือพระอุโบสถ วัดบานไร ณ วันพุธที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๓๘ และไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมพสกนิกรที่มาเฝาฯ รับเสด็จอยูจนพลบคํ่า ยังความปลาบปลื้มแกปวงพสกนิกรเปนอยางยิ่ง และกอนเสด็จพระราชดําเนินกลับ พระองคได้ทรงประนมพระหัตถนมัสการลาหลวงพอคูณซึ่งตามเสด็จอยูโดยตลอด หลวงพอคูณไดรวบพระหัตถของพระองคไวแนน พรอมทั้งกําหนดจิตและอธิษฐานในใจถวายพระพรวา สุคโต สุคโต สุคโต

ชาติกำเนิด

คูณ ฉัตรพลกรัง (หลวงพอคูณ) เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๖ ตรงกับแรม ๑๐ คํ่า เดือน ๑๐ ปกุน ที่บานไร หมูที่ ๖ ตําบลกุดพิมาน อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เปนบุตรชายคนโตของนายบุญ และนางขาว ฉัตรพลกรัง ซึ่งประกอบอาชีพเกษตรกรเปนครอบครัวชาวนา มีน้องสาวรวมบิดามารดาสองคน คือ นางคํามั่น วงษกาญจนรัตน และนางทองหลอ เพ็ญจันทร

ชีวิตวัยเด็ก

โยมแมเสียชีวิตตั้งแตหลวงพออายุได ๑๑ ขวบ โยมพอไดนําไปฝากเปนศิษยวัดบานไรเพื่อใหเรียนหนังสือกับพระสงฆ อาจารยเชื่อม วิธโร พระอาจารยฉาย และพระอาจารยหลี พระอาจารยที่วัดทั้งสามทานตั้งใจสอนอยางจริงจัง ทั้งวิชาภาษาไทย ภาษาขอม ทั้งยังสอนวิชาคาถาอาคมเพื่อปองกันภัยอันตรายตางๆ ใหดวย ทําใหหลวงพอตั้งใจเรียนจนไดมีความรูมาตั้งแตบัดนั้น

ชีวิตวัยรุ่น

ในวัย ๑๖ ป หลวงพอไดออกจากวัดบานไรไปอยูในความอุปการะของนาชายและนาสะใภ หลวงพออยากเปนนักแสดงเพลงโคราช หรือที่เรียกวาหมอเพลง ตามความนิยมของหนุมสาวโคราชสมัยนั้น จึงไดเดินทางดวยเทา ๕ วัน ๕ คืน พรอมคนในหมูบานจํานวนหนึ่งไปยังบานมะระ ตําบลดอนชมพู อําเภอโนนสูง ฝากตัวเปนลูกศิษยครูสน ไดความรูและบทเพลงเกี้ยวพาราสีจากครูมาหนึ่งบท จากนั้นไดตัดสินใจลาครูกลับบาน

หลวงพออยากคบนักเลงดูบาง นักเลงสมัยนั้นเปนที่เกรงขาม ไดรับการยอมรับและยกยองวาเป็นผูยิ่งใหญ จึงไดลองคบกับนักเลงโตตามหมูบาน นักเลงเหลานั้นนอกจากจะทําตัวเกะกะระรานผูอื่นแลว  ยังลักขโมยสัตวเลี้ยงอยางวัวควายไปฆาชําแหละเนื้อมาแบงปนกันอีกดวย แตเดชะบุญที่หลวงพอมีจิตสํานึกที่ดีงาม สามารถแยกแยะความดีความเลวได จึงไมไดถลําตัวและรักษาตนใหรอดพนจากวัยอันตรายไดอยางปลอดภัย

ชีวิตชาวนา

นาชายและนาสะใภมีอาชีพทํานา เปนอาชีพที่ตองใชแรงกายเปนหลัก หลวงพอไดชวยนาทั้งสอง
ทํางานตามกําลังความสามารถโดยตลอด จนวันหนึ่งรางกายที่ปวดระบมไปทั้งตัวจนสุดที่จะทนได จึงได
ทอดกายนอนพาดบนคันนาเปนเวลานาน ไดยินนาสะใภพูดวา "ถาไมไหวก็ไปบวชเสียไป" หลวงพอจึง
ตอบไปวา "นาคอยดูเดอ หากฉันไดบวชแลว ขอรับรองวาฉันจะไมยอมซึกเปนอันขาด จะบวชจนตายเลยแหละ"

อุปสมบท บวชเรียน

เมื่ออายุได ๒๑ ป ไดอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดถนนหักใหญ ตําบลกุดพิมาน อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เมื่อวันศุกรที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๗ (บางตําราระบุวา ๒๔๘๖) เดือน ๖ ปวอก พระครูวิจารยติกิจ อดีตเจาคณะอําเภอดานขุนทดเปนพระอุปชฌาย์ พระอาจารยสุข วัดโคกรักษ เปนกรรมวาจาจารย พระอุปชฌาย (พระครูวิจารยติกิจ) ใหฉายาวา ปริสุทฺโธ หลวงพอไดศึกษาพระธรรมวินัยจากหลวงพอคง พุทธฺสโร และเปนศิษยหลวงพอแดงที่มีชื่อเสียงดานวิปสสนากัมมัฏฐาน ซึ่งหลวงพอไดตั้งใจฝกปฏิบัติเปนอยางดีและสมํ่าเสมอ

หลังจากนั้นทานไดฝากตัวเปนศิษยหลวงพอแดงวัดบานหนองโพธิ์ ตําบลสํานักตะครอ อําเภอดานขุนทด ซึ่งเปนพระนักปฏิบัติดานคันถธุระและวิปสสนาธุระอยางเครงครัด และเปนพระเกจิอาจารยที่เรืองวิทยาคมเปนที่เลื่อมใสศรัทธาทั่วไป หลวงพอคูณไดตั้งใจรํ่าเรียนพระธรรมวินัยและปรนนิบัติรับใชหลวงพอแดงมานาน จนหลวงพอแดงไดนําทานไปฝากตัวเปนศิษยหลวงพอคง พุทธสโร ซึ่งเปนสหายที่มักแลกเปลี่ยนธรรมะและวิชาอาคมตางๆ กันอยูเสมอ 

หลวงพอคูณจึงไดเรียนวิชาทั้งทางธรรมและทางไสยศาสตร เปนการสอนพระธรรมคูกับการปฏิบัติพระกัมมัฏฐาน เนนการมีสติ ระลึกรูพิจารณาอารมณตางๆ ที่มากระทบและใหเกิดการรูเทาทันในอารมณนั้น และสอนพระกัมมัฏฐานโดยใชหมวดอนุสติ ดวยการกําหนดความตายเปนอารมณ (มรณสติ) เพื่อใหเกิดการรูเทาทัน ไมหลงในอารมณ รูป รส กลิ่น เสียง ไมประมาทในความโลภ โกรธ หลง จนมีความรูชํานาญในการปฏิบัติธรรมเปนอย่างดี 

หลวงพอคงจึงแนะใหหลวงพอคูณออกธุดงคจาริกไปตามปาเขาเพื่อฝกปฏิบัติธรรมขั้นสูงตอไป หลวงพอคูณไดเดินธุดงคจากเขตจังหวัดนครราชสีมาและไกลออกไปเรื่อยๆ จนถึงปาลึกในประเทศกัมพูชาและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อทําความเพียรใหหลุดพนจากกิเกส ตัณหาและอุปาทานทั้งปวง กอนจะกลับวัดบานไร่ในปี พ.ศ.๒๔๙๕ และไดเริ่มบูรณะพัฒนาวัดบานไร จากการชวนชาวบานชวยกันตัดไมมาสรางอุโบสถในป พ.ศ.๒๔๙๖ (ซึ่งตอมาไดรื้อสรางใหม ไดสําเร็จในป พ.ศ. ๒๕๓๘) หลังจากนั้นหลวงพอคูณไดมีสวนสําคัญในการขุดสระนํ้า สรางกุฏิสงฆ ศาลาการเปรียญในวัดบานไร และไดบริจาคทุนทรัพยในการสรางโรงพยาบาล โรงเรียนอีกหลายแหง รวมทั้งการบริจาคปจจัยชวยเหลือดานสาธารณกุศลและมูลนิธิตางๆ อยูเสมอ

แตเดิมหลวงพอตั้งใจจะบวชเพียง ๓ พรรษา แตภาพความยากลําบากในอดีตของตนเองและผูคนในบานเกิด ทําใหตองครุนคิดอยูตลอดเวลาวา

“ทําอยางไรจะชวยคนเหลานั้นใหพนทุกขได”

“อันตัวกูก็ตํ่าตอยนอยคาอยางนี้ ถาซึกออกไปจะทําประโยชนอะไรใหคนในแผนดิน ลําพังการเลี่ยงตัวเองก็จะเอาตัวไมรอด แตการบวชเรียนถือศีลอยูหากมีความรู มีคุณธรรม อาจจะช่วยเหลือเกื้อกูลพวกเขาใหพนวิบากกรรมไดมากกวา”

หลวงพอจึงไดตัดสินใจอยางแนวแนวาจะอุทิศกายถวายชีวิตบวชเพื่อพระพุทธศาสนาตลอดไป

ปราชญ์แห่งที่ราบสูง

สิ่งที่ทําใหหลวงพอคูณเปนที่เลื่อมใสศรัทธาของคนทั่วไป เริ่มจากการสรางวัตถุมงคล ซึ่งตามประวัติที่ท่านไดเรียนวิชาคาถาอาคมจากพระอาจารยหลายๆ ทาน จนมีความชํานาญแกกลา และไดสรางวัตถุมงคลรุนแรกตั้งแตสมัยเมื่อบวชไดเจ็ดพรรษา เริ่มจากตะกรุดโทน ตะกรุดทองคํา เพื่อฝงใตทองแขน ณ วัดบานไร ในราวป พ.ศ.๒๔๙๓ ซึ่งทานกลาวเสมอวา "ใครขอกุก็ให ไมเลือกยากดีมีจน" ปจจุบันพระเครื่องหลวงพอคูณเปนที่นิยมของนักสะสมอยางมาก ทั้งความแกกลาในวิชาอาคมและความแตกฉานในพุทธศาสนา ทําใหหลวงพอคูณไดรับฉายาวา ปราชญแหงที่ราบสูง และแมทาทีการแสดงออกที่ตรงไปตรงมา พูดภาษาพื้นบานโคราช ใชคํามึงกู แตทุกคนตางทราบดีวาหลวงพอคูณเปนผูมีจิตเมตตาเปนอยางยิ่ง ทุกๆ ครั้งที่ทานแสดงออกทานจะมีจิตที่แจมใส หมดสิ้นกิเลสอยางแทจริง

จนถึงป พ.ศ.๒๕๑๒ หลวงพอคูณไดไปจําพรรษาที่วัดสระแกว จังหวัดนครราชสีมา เพื่อความสะดวกในการรักษาอาการอาพาธ หลังจากนั้นหลวงพอไดเมตตาเดินทางไปจําพรรษาในหลายจังหวัดทั่วทุกภูมิภาคใหประชาชนทั่วประเทศไดมีโอกาสสรางบุญสรางกุศลอีกดวย กอนที่หลวงพอจะเดินทางกลับวัดบานไรอีกครั้งในป พ.ศ.๒๕๓๘ และจําพรรษาที่วัดบานไรจวบจนมรณภาพ

เมตตาจิตอันยิ่งใหญ่

ใครขอรองใหหลวงพอชวยทําอะไร ถาทําไดทานก็เมตตาทําใหทุกคน หลวงพอพูดวา “มันมาขอรองกูใหกูทําโนนทํานี่ ใหกูเหยียบ กูก็เหยียบใหมัน จั๊กกูจะคัดใจมันไปทําไมมันจะไดสบายใจ.....”

แมแตวัตถุมงคลหลายประเภท ซึ่งหลวงพอเองไมไดมีเจตนาที่จะสนับสนุนในเรื่องนี้ แตถาหากทําแลวประชาชนอยูดีมีสุข หลวงพอก็ไมขัดใจใคร ดังนั้นบอยครั้งที่ไดเห็นภาพหลวงพอฝงตะกรุด เคาะหัว  เปากระหมอม เหยียบโฉนดที่ดิน เจิมรถยนต เจิมอาคารบานเรือน และอีกมากมายที่หลวงพอเมตตาทําให (เพื่อความสุขความสบายใจของผูมาขอ)

“คนเรา เมื่อมีเมตตาใหกับผูอื่น ผูอื่นเขาก็จะใหความเมตตาตอบสนองตอเรา ถาเราโกรธเขา เขาก็จะโกรธเราตอบเชนกัน ความเมตตานี่แหละคืออาวุธ ที่จะปกปองตัวเราเองใหไปไดตลอดรอดฝง เปนอาวุธที่ใครๆ จะนําเอาไปใชก็ได จัดวาเปนของดีนักแล”.
--------------
ข้อมูล: มหาวิทยาลัยขอนแก่น, https://drive.google.com/file/d/1NwgtOTzq1MPB5_Oh7mlZH1rMK8HdZ5sR/view


เมื่อวานคุยเล่น  เรื่องลูกพรรคเพื่อไทย ร้องขอให้ "นายใหญ่" ส่งเมีย "คุณหญิงพจมาน" มาเป็น "ขอนไม้ดุ้นใหม่" ของพรรค ให้ลูกกบ-ลูกเขียดในพรรคได้เกาะ  วันนี้ ขอคุยซีเครียดซักนิด

อนาคต 'คนนินทาเมีย'
'โควิดคลาย-โรคอิจฉาคุ'
ไทย"เหนือคาดหมาย"เสมอ
วิสัยทัศน์"อินทรี-อีแร้ง"
"การ์ดเชิญ"๒๑ ตุลา.
เปิดประเทศ"เปิดตรงไหน?"