5 ต.ค.2567 - น.ส.นันทนา นันทวโรภาส สมาชิกวุฒิสภา (สว.) ในฐานะกรรมาธิการ (กมธ.) พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การออกเสียงประชามติ พ.ศ. … วุฒิสภา กล่าวถึงกรณีวุฒิสภา มีมติเห็นชอบให้แก้ไขร่าง พ.ร.บ.ประชามติ กลับไปใช้เสียงข้างมากสองชั้นในการแก้รัฐธรรมนูญ ว่า ขณะนี้ทางวุฒิสภา ยังไม่ได้ส่งร่างที่แก้ไขกลับไปให้สภาผู้แทนราษฎร ทั้งนี้ หากส่งไปแล้ว สส.มีท่าทียืนยันจะใช้เสียงข้างมากแบบง่าย ก็ต้องกลับมาตั้ง กมธ.ร่วมเพื่อพิจารณาอีกครั้ง ซึ่งตนมองว่าเป็นการเตะถ่วง แทนที่จะรีบส่งไป เพราะ สว.มีมติตั้งแต่วันที่ 30 ก.ย. แล้ว
ผู้สื่อข่าวถามว่า มองว่า สส.และ สว. จะตกลงกันในชั้น กมธ.ร่วมได้หรือไม่ น.ส.นันทนา กล่าวว่า อำนาจอยู่ที่ สส. หาก สส.ยืนยันเรื่องเสียงข้างมากแบบง่าย กฎหมายฉบับนี้ก็ต้องรอไปอีก 180 วัน เพื่อยืนยันและประกาศใช้
เมื่อถามย้ำว่า หากเป็นเช่นนี้ก็ไม่ทันกรอบเวลาทําประชามติครั้งแรกในต้นปี 68 ใช่หรือไม่ น.ส.นันทนา กล่าวว่า หากต้องตั้ง กมธ.ร่วม ก็ไม่ทันแล้ว
ข่าวที่เกี่ยวข้อง
มติวุฒิสภาไม่รับญัตติ 'สว.พันธุ์ใหม่' เดินหน้าโหวต 'สิริพรรณ-ชาตรี'
ที่รัฐสภา ในการประชุมวุฒิสภา ที่มี พล.อ.เกรียงไกร ศรีรักษ์ รองประธานวุฒิสภาคนที่หนึ่ง เป็นประธานการประชุม เข้าสู่วาระการพิจารณาให้ความเห็นช
'ภท.' เอาด้วยส่งศาลตีความประชามติ ชี้คนละเรื่องกับรอบก่อน
'โฆษกภท.' เผยมติพรรค หนุนญัตติส่งศาล รธน.ตีความ แก้ รธน.ก่อนประชามติ บอกไม่ย้อนแย้งรอบที่แล้ว เหตุเป็นคนละประเด็น
'เปรมศักดิ์' เดินหน้าเสนอญัติติส่งศาลรธน. เชื่อมีเจตนาเดียวกับพท.
"เปรมศักดิ์” เดินหน้าต่อ ลุยเสนอญัตติส่ง ศาลรธน. เชื่อองค์ประชุมไม่ล่มซ้ำรอยเดิม หวังว่าทุกฝ่ายจะดำเนินการตามข้อเสนอเชื่อมีเจตนาเดียวกับเพื่อไทย
แก้รธน. ส่อระอุอีก 'สว.' บี้ 'ศาลรธน.' ไม่มีเหตุไม่รับคำร้อง ตีความประชามติ
จี้ให้ส่งคำตอบโดยเร็วภายในหนึ่งสัปดาห์ หากจันทร์นี้ รัฐสภาลงมติส่งคำร้องให้ศาลรธน.ตอบมาให้ชัด แก้ 256 ตั้งสภาร่างรธน. โดยไม่ต้องทำประชามติก่อนได้หรือไม่
'วิสุทธิ์' เผย 'ภูมิใจไทย' ไม่ขัดข้อง ญัตติด่วนยื่นศาลตีความแก้ รธน.
นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล) ให้สัมภาษณ์ถึงการประชุมร่วมรัฐสภาในวันที่ 17 มี.ค.
'รทสช.' มีมติหนุนส่งศาลตีความ ปมอำนาจสภาแก้รธน.
'รทสช.' มีมติเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญตีความ ปมอำนาจสภาแก้รัฐธรรมนูญ ย้ำเรื่องใหญ่ ทำประชามติใช้งบ 4 พันล้าน จำเป็นต้องรอบคอบชัดเจน