สิ่งแวดล้อม

แยกขยะพิษจากชุมชน ลดวิกฤตสิ่งแวดล้อม

ปฏิเสธไม่ได้ว่า ตามบ้านเรือนจะมีถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่หมดอายุ  โทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ตที่ไม่ใช้แล้ว ถูกทิ้งเป็น”ขยะอันตราย” ในบ้าน  ไม่นำไปทิ้งจุดทิ้งของเสียอันตราย บางบ้านนำขยะอันตรายทิ้งปะปนกับมูลฝอยทั่วไป  เกิดการรั่วไหลของสารพิษส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทำร้ายสุขภาพของผู้คน

โรดแมฟขยะพลาสติก ปี 66-70

เมื่อแผนปฏิบัติการด้านการจัดการขยะพลาสติก ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) สิ้นสุดลง เพื่อให้การขับเคลื่อนแก้ปัญหาขยะพลาสติกในประเทศไทยเกิดความต่อเนื่อง ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ เนื่องจากไทยมีปริมาณขยะพลาสติกติดอับดับต้นๆ ของโลก   กรมควบคุมมลพิษ ( คพ. )

4 มาตรการแก้ PM2.5 หมดฝุ่นภายใน 15 ปี

ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาค่าความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็ก  PM2.5 ในบรรยากาศเกินค่ามาตรฐานความปลอดภัยต่อสุขภาพประชาชน ทั้งในพื้นที่กรุงเทพฯ และพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ถือเป็นปัญหาซ้ำซากทุกปี  โดยเฉพาะ กทม.ติดอันดับโลก เมืองอ่วมมลพิษอากาศ

เตือน 3-4 ก.พ. ค่าฝุ่นพิษสูงต่อเนื่อง

2 ก.พ.2566 – นายปิ่นสักก์ สุรัสวดี อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ในฐานะประธานศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (ศกพ.) แถลงข่าวสถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 และมาตรการแก้ไขปัญหา ณ ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ อาคารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1...171819...46