ป้ายกำกับ :

ไชยันต์-ไชยพร

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. (ตอนที่ 6: รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)

ในตอนที่ 1-4 ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ไม่ใช่รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดให้อำนาจบุคคลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 7: การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสายตาผู้ช่วยทูตทหารฝรั่งเศส)

(ต่อจากตอนที่แล้ว) ในรายงานวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1932 (พ.ศ. 2475) ของพันโท อองรี รูซ์ ผู้ช่วยทูตทหารบกและทหารเรือประจำสยาม ประจำสถานอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำสยาม เรื่อง เหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นในเมืองหลวงของสยาม

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. (ตอนที่ 5: ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)

ในตอนที่ 1-4 ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ไม่ใช่รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดให้อำนาจบุคคลนอกเหนือจาก ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้งมีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้ง แต่รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ให้อำนาจบุคคลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งมีอำนาจเลือก

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 6: การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสายตาผู้ช่วยทูตทหารฝรั่งเศส)

(ต่อจากตอนที่แล้ว) ในรายงานวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1932 (พ.ศ. 2475) ของพันโท อองรี รูซ์ ผู้ช่วยทูตทหารบกและทหารเรือประจำสยาม ประจำสถานอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำสยาม

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. (ตอนที่ 4: รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489)

ในตอนที่ 1 ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ไม่ใช่รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดให้อำนาจบุคคลนอกเหนือจาก ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้งมีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้ง

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 5: การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ในสายตาผู้ช่วยทูตทหารฝรั่งเศส)

ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 พันโท อองรี รูซ์ ผู้ช่วยทูตทหารบกและทหารเรือประจำสยาม ได้มีรายงานไปถึง

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. (ตอนที่ 3)

ในตอนที่ 1 ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ไม่ใช่รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่กำหนดให้อำนาจบุคคลนอกเหนือจาก ส.ส. ที่มาจากการเลือกตั้งมีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 4)

ผู้เขียนขอนำความเห็นของต่างชาติที่มีต่อเรื่องราวการเมืองไทยตั้งแต่ช่วงก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึงการเมืองหลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. (ตอนที่สอง)

จากตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของไทย คือ ต้นแบบของการออกแบบให้ ส.ว.

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 3)

ผู้เขียนขอนำความเห็นของต่างชาติที่มีต่อเรื่องราวการเมืองไทยตั้งแต่ช่วงก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองจนถึงการเมืองหลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช

จากปีที่ 1 ถึงปีที่ 91 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง: ต้นแบบการสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญไทย ที่ให้ ส.ว. มีอำนาจเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส.

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักจากการที่กำหนดให้ ส.ว. มีอำนาจในการเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับ ส.ส. เป็นเวลาห้าปี ดังที่ปรากฎในบทเฉพาะกาล มาตรา 272

ไทยในสายตาต่างชาติ: สมัยรัชกาลที่เจ็ด (ตอนที่ 2): พิธีบรมราชาภิเษก

ในตอนที่แล้ว ผู้เขียนได้กล่าวถึงความเห็นของเจ้าหน้าที่การทูตฝรั่งเศสและอังกฤษที่มีต่อการเสด็จขึ้นครองราชย์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2468

ประเด็นการถวายฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษ ทักษิณ ชินวัตร

(ข้อเขียนนี้เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 14 ปีที่แล้ว วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ก่อนที่พี่น้องเสื้อแดงจะเข้าชื่อกันเป็นจำนวนถึง 3.5 ล้านคน และส่วนหนึ่งได้รวมตัวกันที่สนามหลวงยื่นฎีกาที่พระบรมมหาราชวัง

การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหลังการสละราชสมบัติของรัชกาลที่เจ็ด (๗๔): การกำหนดจำนวนผู้ลงนามของคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2477 ได้ลงมติเห็นสมควรให้พระวรวงศ์เธอ

คุณทักษิณ ชินวัตร จะกลายเป็นวีรบุรุษของสังคมไทย

วันที่ 5 ธันวาคม 2548 อาจารย์ นิธิ เอียวศรีวงศ์ กล่าวในสื่อฉบับหนึ่งว่า หากมีการใช้อำนาจนอกระบบในการแก้ไขวิกฤติการเมืองที่กำลังจะเกิดขึ้นในขณะนั้น ผลที่ตามมาคือ

การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหลังการสละราชสมบัติของรัชกาลที่เจ็ด (๗๓): เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงสละราชสมบัติ รัฐบาลตองลาออกไหม ?

หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2477 ได้ลงมติเห็นสมควรให้พระวรวงศ์เธ

Progress

ใครที่รู้ภาษาอังกฤษ ก็จะรู้ว่า Progress แปลว่า ‘ก้าวหน้า’ และคำว่า ก้าวหน้า ก็มักจะถูกให้ค่าในแง่บวก จริงๆ แล้ว Progress มันมีความหมายตรงตัวเลย นั่นคือ ก้าวไปข้างหน้า

การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหลังการสละราชสมบัติของรัชกาลที่เจ็ด (๗๒): เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงสละราชสมบัติ รัฐบาลต้องลาออกไหม ?

หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2477 ได้ลงมติเห็นสมควรให้พระวรวงศ์เธอ

ความสับสนทางการเมือง

(ข้อเขียนนี้เขียนและเผยแพร่ครั้งแรก เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551) วิกฤติการเมืองไทยในช่วง พ.ศ. 2549-2551 ได้ก่อให้เกิดความสับสนทางการเมืองอย่างหนัก ความสับสนที่เห็นได้ชัดประการแรกคือ

การประชุมสภาผู้แทนราษฎรหลังการสละราชสมบัติของรัชกาลที่เจ็ด (๗๑): การกำหนดจำนวนผู้ลงนามของคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์

หลังจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2477 ได้ลงมติเห็นสมควรให้พระวรวงศ์เธอ

เพิ่มเพื่อน