กรมอุตุฯ เผยฤดูร้อนปีนี้จะมาช้ากว่าปกติ คาดเลื่อนไปในเดือนมีนาคม

5 ก.พ.2566 - กรมอุตุนิยมวิทยา คาดการณ์สภาพอากาศ ระยะนาน 42 วันล่วงหน้า (6 ก.พ. - 20 มี.ค.66) จาก ECMWF init.2023020200 : 1-2 สัปดาห์หน้านี้ ยังมีอากาศเย็นในตอนเช้า กลางวันอากาศร้อนขึ้น

ส่วนสัปดาห์ที่ 3 - 4 (ปลายเดือนกุมภาพันธ์) ถึงต้นเดือนมีนาคม 2566 ยังมีมวลอากาศเย็นหรือความกดอากาศสูง แผ่เสริมลงมาปกคลุม ทำให้ยังมีอากาศเย็นลงได้

โดยปกติ ประเทศไทยจะเริ่มเข้าสู่ฤดูร้อนประมาณ กลางเดือน กุมภาพันธ์ แต่ปีนี้คาดว่า อาจจะเลื่อนไป ในเดือนมีนาคม

(เกณฑ์เข้าสู่ฤดูร้อน ดูเกณฑ์ของอุณหภูมิที่ขึ้นสูงกว่า 35 องศา ต่อเนื่องกันหลายพื้นที่ รวมทั้งลมที่พัดปกคลุมจะเปลี่ยนทิศทางเป็นลมใต้ ตะวันออกเฉียงใต้)

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

พายุฤดูร้อนถล่ม 20-22 มี.ค. ฝนฟ้าคะนอง ลมแรงลูกเห็บตก

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า หย่อมความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางของประเทศไทย

เหนือ อีสาน กลาง รับมือพายุฤดูร้อน ลมกระโชกแรง

กรมอุตุนิยมวิทยา รายงาน ลักษณะอากาศทั่วไป พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้า ความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอุณหภูมิสูงขึ้น มีอากาศร้อนกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

ปลอดพายุฤดูร้อน! ช่วงนี้อากาศนิ่ง เริ่มร้อนขึ้น ฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า ระหว่างวันที่ 17 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2566 ระบุว่า ในวันที่ 17-18 มี.ค. 66 ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ในขณะที่บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

ทั่วไทยอากาศร้อน ฟ้าหลัวกลางวัน ฝนฟ้าคะนอง 10-20 %

กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างหน้าว่า ลมใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ในขณะที่บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

วันนี้ต้องพกร่ม! มีโอกาสเจอฝนแทบทุกภูมิภาค

กรมอุตุฯ เผยลมตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมไทยตอนบน ทำให้มีอากาศร้อนกับฟ้าหลัวในตอนกลางวัน และทำให้เจอฝนฟ้าคะนองบางแห่ง

ไทยตอนบน-ภาคใต้ มีฝนฟ้าคะนองบางแห่ง กลางวันเริ่มร้อนมากขึ้น ยังไม่มีพายุ

นายสมควร ต้นจาน ผู้อำนวยการส่วนพยากรณ์อากาศกลาง กองพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์ฝนสะสมรายวัน (ทุกๆ 24 ชม.) 10 วันล่วงหน้า