นายกฯ รับ นิรโทษกรรม-ปรองดอง เป็นเรื่องสำคัญ แต่โยนเป็นเรื่องรัฐสภา


13 ธ.ค.2566 - นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวถึงการนิรโทษกรรม คดีเกี่ยวข้องกับการชุมนุมทางการเมือง ว่า การนิรโทษกรรม การปรองดองระหว่างประชาชนทั้งประเทศ เชื่อว่าเป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะทำให้

"ถ้าเกิดขึ้นได้ในรัฐบาลชุดนี้ก็จะทำให้ประเทศเดินหน้าไปข้างหน้าได้อย่างปลอดภัยและมีเสถียรภาพ ซึ่งรัฐบาลนี้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีสส. ฉะนั้นเรื่องการนิรโทษกรรมเป็นเรื่องของรัฐสภาและฝ่ายนิติบัญญัติ" นายกฯระบุ

ผู้สื่อข่าวถามว่าเคยมีความพยายามนิรโทษกรรมมาแล้วหนึ่งครั้ง ดังนั้นความแตกต่างระหว่างครั้งนั้นกับครั้งนี้เป็นอย่างไร นายกฯ กล่าวว่า แต่ละกรรมก็ต่างวาระกันไป พบว่าเรามีการเรียนรู้ว่าเรื่องอะไรที่สังคมรับได้และรับไม่ได้ ฉะนั้นเชื่อว่ารัฐสภา ฝ่ายนิติบัญญัติเองทราบดีอยู่ว่าทุกท่านมาจากการเลือกตั้ง และทุกคนฟังเสียงประชาชน ฉะนั้นตรงนี้ทุกคนมีการเรียนรู้มาแล้ว.

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

นายกฯ โดดป้อง 'อุ๊งอิ๊ง' ปมแบงก์ชาติ อ้างแค่สะท้อนความต้องการประชาชน

นายกฯ ป้อง “อุ๊งอิ๊ง“ สปีชเวทีเพื่อไทย แค่สะท้อนความต้องการประชาชน ลั่น ไม่เคยบีบบังคับใคร เข้าใจความเป็นอิสระ เตรียมคุย ”รมว.คลัง“ หาทางทำงานร่วมแบงค์ชาติ

รัฐบาลเตรียมส่งสภาฯ ถกงบฯ 68 ต้น มิ.ย. สมัยวิสามัญ

นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 รัฐบาลมีความพร้อมใช่หรือไม่ ว่า

นายกฯรับไม่ทราบขั้นตอน 'กฤษฎีกา' ให้ศาลรธน.ชี้ขาดคุนสมบัติ 'พิชิต' ยันทุกอย่างเป็นไปตามกม.

นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี เดินทางเข้าพรรคเพื่อไทยเพื่อร่วมกิจกรรม "10 เดือนที่ไม่ต้องรอ ทำต่อให้เต็ม 10" ซึ่งจะมีการเปิดตัวว่าที่ผู้สมัครนายก อบจ. ในนามพรรคเพื่อไทย

'เศรษฐา' จ่อจัดรายการ 'นายกฯพบประชาชน' อยากสื่อสารกับปชช.สม่ำเสมอ

นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์ถึงกรณีการเตรียมจัดรายการนายกฯพบประชาชน ว่า ตนไม่แน่ใจว่าจะใช้ชื่อรายการว่าอะไร

นายกฯซวยแล้ว! ภาคปชช.อ้างคำวินิจฉัยกฤษฎีกาคุณสมบัติ 'ทนายถุงขนม' ยื่นป.ป.ช.เอาผิด

สืบเนื่องจากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ขอให้สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาให้ความเห็นในปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของรัฐมนตรี เฉพาะตามมาตรา 160(6) ประกอบกับมาตรา 98 (7) และมาตรา 160 (7) ของรัฐธรรมนูญ