‘อาจารย์หมอจุฬาฯ’ แนะการระบายอากาศ ช่วยลดแพร่ระบาดโควิด

11 ธ.ค.2565-รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโพสต์เฟซบุ๊กระบุว่า การระบายอากาศในสถานที่ และห้องหับต่างๆ เป็นเรื่องสำคัญมากในการระบาดระลอกนี้ มีการติดเชื้อจำนวนมาก หลายกรณี ที่มีลักษณะเหมือนกันคือ การทำงาน หรืออยู่ในที่เดียวกัน ห้องเดียวกัน ไม่ว่าจะทำงาน ท่องเที่ยว หรือหาร้านอาหารกินดื่ม ควรดู 3 เรื่องหลัก 1. Airflow มีลมถ่ายเทดีไหม มีพัดลมระบายอากาศไหม 2. แออัดหรือเปล่า หากมีคนจำนวนมาก ควรเลี่ยงไปที่อื่น

3. คนที่นั่งทำงานด้วยกัน พบปะกัน หรือพนักงานที่ให้บริการ มีการป้องกันตัวไหม ใส่หน้ากากถูกต้องไหม หากไม่ใส่ ควรเลี่ยงไปที่อื่น หรือใช้เวลาอยู่ด้วยกันให้สั้นๆ โดยป้องกันตัวเองอย่างเคร่งครัด …ติดกันมากจริงๆ ครับ…

เพิ่มเพื่อน

ข่าวที่เกี่ยวข้อง

'หมอธีระวัฒน์' แจง 5 ข้อ พูดเรื่องผลกระทบการวัคซีนโควิดทำไม ในเมื่อมันผ่านไปแล้ว

ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ว่า

‘หมอมนูญ’ เตือนโควิดหลังสงกรานต์เปลี่ยนไป ใครมีอาการแบบนี้รีบตรวจ ATK

อาการของโรคโควิดเปลี่ยนไป ส่วนใหญ่เป็นอาการของทางเดินหายใจส่วนบน คอ จมูก มากกว่าทางเดินหายใจส่วนล่าง หลอดลม และปอด

‘หมอมนูญ’ เผยผลติดตามสถานการณ์ 5 โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ

ข้อมูลของโรงพยาบาลวิชัยยุทธที่ติดตามโรคติดเชื้อทางเดินหายใจที่เกิดจากเชื้อไวรัสโควิด-19 ไวรัสไข้หวัดใหญ่  ไรโนไวรัส (Rhinovirus) อาร์เอสวี (RSV) และ ฮิวแมนเมตะนิวโมไวรัส Human metapneumovirus (hMPV)

‘หมอยง’ ย้ำโควิดยังสายพันธุ์โอมิครอน JN.1 ไม่รุนแรง หายไข้-ไอมาก 1 วัน ใส่แมสทำงานได้

โควิด 19 ได้เปลี่ยนแปลงลดความรุนแรงลง จนปัจจุบันความรุนแรงเท่ากับโรคไข้หวัดใหญ่ RSVและเป็นการระบาดตามฤดูกาล

อาจารย์หมอ วิเคราะห์การระบาดโควิด มาจาก โอมิครอน สายพันธุ์ JN.1 เป็นหลัก

แม้ในช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมา ไทยจะเป็นขาลง แต่จำนวนคนที่ติดเชื้อใหม่ในแต่ละวันยังมีจำนวนไม่น้อย จึงควรใช้ชีวิตโดยไม่ประมาท