ป้ายกำกับ :

พอช.

บ้านมั่นคงชนบท ‘น้ำพางโมเดล’ จ.น่าน (2) บ้านที่มั่นคงของ ‘สหายกำปืน' อดีตนักสู้ ‘อนุชน พคท.’

‘น้ำพางโมเดล’ คือการปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตของชาวบ้านตำบลน้ำพาง อ.แม่จริม จ.น่าน ตั้งแต่ปี 2558 จากเดิมที่ชาวบ้านปลูกข้าวโพดเป็นหลัก เป็นพืชเชิงเดี่ยวที่ต้องใช้สารเคมี

บ้านมั่นคงชนบท ‘น้ำพางโมเดล’ จ.น่าน (1) “ที่ดินคือชีวิต”...เส้นทางสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน !!

ตำบลน้ำพาง อ.แม่จริม จังหวัดน่าน อยู่ห่างจากตัวเมืองน่านไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 50 กิโลเมตร และอยู่ไม่ไกลจากชายแดนประเทศลาว

จาก ‘มะน้ำแก้ว’ บนดอย...สู่ ‘ฟักทองอินทรีย์’ ที่ห้างใหญ่ในเมือง เส้นทางพลิกฟื้นไร่ข้าวโพด-ดอยหัวโล้นสู่เกษตรอินทรีย์ที่บัวใหญ่ จ.น่าน

“บ่าฟักแก้ว”, “ฟักแก้ว” , “บ่าน้ำแก้ว”, “ม่าน้ำแก้ว” หรือ “มะน้ำแก้ว” ตามสำเนียงของแต่ละท้องถิ่นในภาคเหนือ มีความหมายถึง “ฟักทอง” ในภาษากลาง ใช้ทำอาหารได้หลายอย่าง

คนดอยเต่า จ.เชียงใหม่ ‘ฮอมแฮง’ สร้างบ้าน-สร้างเศรษฐกิจ-แก้ปัญหาที่ดินส่งเสริมอาชีพเลี้ยงหมูดำ-วัวเนื้อ สร้างชีวิตที่มั่นคง

อำเภอดอยเต่า จังหวัดเชียงใหม่ ในอดีตเป็นพื้นที่ทุรกันดารอดอยาก เพราะบ้านเรือนเรือกสวนไร่นาถูกน้ำท่วมตั้งแต่ยุคสร้างเขื่อนในปี พ.ศ.2507

‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (4) การแก้ปัญหาที่ดิน-ที่อยู่อาศัย...สร้างแม่แจ่มให้เป็นเมืองสีเขียว

แม้ว่าชาวแม่แจ่มส่วนใหญ่จะอยู่อาศัยและทำกินต่อเนื่องมาตั้งแต่ครั้งบรรพบุรุษ แต่กฎหมายทึ่เดินทางมาถึงทีหลัง เช่น พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ.2504

‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (3) จากม่อนบ่อเฮาะ...สู่ ‘แม่แจ่มโมเดล’...การพัฒนาที่ยั่งยืน

การสร้างบ้านแปงเมืองหลังภัยพิบัติที่บ้านยางหลวง โดยชาวบ้านอพยพหนีภัยน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในปี 2545 มาอยู่ที่ม่อนบ่อเฮาะเพื่อสร้างบ้านสร้างชุมชนใหม่

พม.-พอช. มอบของขวัญปีใหม่ ‘ชาวบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น’ สร้างบ้านใหม่ 300 หลัง ร่วมมือภาคเอกชน-ท้องถิ่น-ชุมชน มอบบ้านเฟสแรก 120 หลัง “คุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อทุกคน”

จ.ขอนแก่น / กระทรวง พม.-พอช. มอบของขวัญปีใหม่ให้ชาวเมืองบ้านไผ่ จ.ขอนแก่น สร้างบ้านสร้างชุมชนใหม่ 300 หลัง โดยร่วมมือกับภาคเอกชน ท้องถิ่นและชาวชุมชน

‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (2) จากภัยพิบัติ ‘บ้านยางหลวง’ สู่ยุค ‘สร้างบ้านแปงเมือง’

นอกจากแม่แจ่มจะร่ำรวยไปด้วยธรรมชาติ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี มีรากเหง้าความเป็นมาของผู้คนที่หลากหลายน่าสนใจแล้ว แม่แจ่มยังเคยผ่านช่วงวิกฤต…

‘คนแม่แจ่ม’ จ.เชียงใหม่ เดินหน้าพัฒนาเมืองทุกมิติ (1) รากเหง้า...วิถี...และสีสัน ‘มนต์เมืองแจ๋ม’

ก่อนอาณาจักรเชียงใหม่เจริญรุ่งเรืองเมื่อหลายร้อยปีก่อน ‘ชาวลัวะ’ หรือ ‘ละว้า’ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ดั้งเดิมที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาจักรล้านนา (รวมทั้งในพม่าและลาว)

ปิดประชุม ‘ระดับชาติสภาองค์กรชุมชนตำบล’ ครั้งที่ 15 ปี 2566 ระดมข้อเสนอแนวทางจากชุมชนทั่วประเทศให้รัฐ-หน่วยงานเกี่ยวข้องแก้ไข เสนอหนุน Soft Power 1 แสนชุมชน-ปรับ ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ เป็นกองทุนให้เกิดความยั่งยืน

พอช. / การประชุมในระดับชาติของสภาองค์กรชุมชนตำบลครั้งที่ 15’ ปี 2566 วันนี้เป็นการประชุมวันสุดท้าย ผู้แทนสภาฯ ทั่วประเทศระดมข้อเสนอเชิงนโยบายให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแก้ไขปัญหา

ผู้แทนสภาองค์กรชุมชนตำบลทั่วประเทศร่วมประชุม ‘ระดับชาติ’ครั้งที่ 15ระดมข้อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาจากชุมชนท้องถิ่นทุกมิติถึงรัฐบาล

พอช./ ผู้แทนสภาองค์กรชุมชนตำบลทั่วประเทศร่วมงาน ‘การประชุมในระดับชาติของสภาองค์กรชุมชนตำบล’ ครั้งที่ 15 ประจำปี 2566 ที่ พอช. โดยร่วมระดมข้อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาจากชุมชนท้องถิ่นที่ชาว

"15 ปี สภาองค์กรชุมชนตำบล” การจัดประชุมในระดับชาติครั้งที่ 15 เสียงสะท้อนจากชุมชนท้องถิ่นสู่การแก้ปัญหาเชิงนโยบาย (2)

‘สภาองค์กรชุมชนตำบล’ จัดตั้งขึ้นมาตาม ‘พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551’ ปัจจุบันเป็นระยะเวลา 15 ปี มีการจัดตั้งสภาองค์กรชุมชนในระดับตำบล

"15 ปี สภาองค์กรชุมชนตำบล” บทบาทการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง...รูปธรรมที่ จ.สุราษฎร์ธานี (1)

‘สภาองค์กรชุมชนตำบล’ เป็นเวทีประชาธิปไตยของชาวบ้านจากชุมชนฐานราก ถือกำเนิดมาจาก ‘พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551’ ในสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์

‘วราวุธ’ รมว.พม.ร่วมงาน ‘วันที่อยู่อาศัยโลกภาคเหนือ 2566’ ลงนาม MoU. 3 ฝ่ายฟื้นฟู ‘ชุมชน-คน-คลองแม่ข่า’ จ.เชียงใหม่

เชียงใหม่ / ‘วราวุธ ศิลปอาชา’ รมว.กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ ร่วมงาน ‘วันที่อยู่อาศัยโลกภาคเหนือ 2566’ ที่เชียงใหม่ โดยมีการลงนามความร่วมมือ 3 ฝ่ายเพื่อฟื้นฟูคลองแม่ข่า

พม.-พอช.-ภาคีจัดงาน ‘วันที่อยู่อาศัยโลกภาคเหนือ 2566’ ที่เชียงใหม่ การแก้ปัญหาที่ดิน-ที่อยู่อาศัย-คุณภาพชีวิต‘คนแม่แจ่ม-คลองแม่ข่า’

เชียงใหม่ / กระทรวง พม. พอช. จังหวัดเชียงใหม่ และภาคีเครือข่าย ร่วมจัดงาน ‘วันที่อยู่อาศัยโลกภาคเหนือ 2566’ ที่จังหวัดเชียงใหม่ ชูประเด็นรูปธรรมการแก้ไขปัญหาที่ดิน-ที่อยู่อาศัย

พลิกฟื้น ‘ชุมชน-คน-คลองแม่ข่า’ จ.เชียงใหม่ สู่ “คลองสวย น้ำใส ไหลดี ชุมชนมีสุข”

เชียงใหม่เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนามาแต่โบราณ ตามตำนานบอกว่า พญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.1839 โดยมีชัยมงคล 7 ประการ

‘แม่แจ่มโมเดล’...การแก้ปัญหาที่ดิน-ที่อยู่อาศัย-คุณภาพชีวิต ปลูกไผ่-กาแฟแทนข้าวโพด สร้างธุรกิจ ‘ต้นน้ำ-ปลายน้ำ’

อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เป็นพื้นที่ต้นแบบแห่งหนึ่งที่ชาวบ้านได้ลุกขึ้นมาแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและปากท้องของพวกเขา

พลังสตรีปัตตานีที่ ‘รูสะมิแล’ ‘สร้างสวัสดิการ สร้างอาชีพให้ชาวชุมชน’

ปัตตานีหรือ ‘ปาตานี’ เป็นเมืองท่าค้าขายทางทะเลที่มีความสำคัญมาแต่โบราณ ดินแดนแห่งนี้ในอดีตเคยมี ‘กษัตรีย์’ หรือ ‘รายา’ ปกครองอาณาจักรต่อเนื่องมานานถึง 4 พระองค์ (พ.ศ.2127-2231)

สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์-หน่วยงานภาคีร่วมจัดงาน ‘วันที่อยู่อาศัยโลก 2566’ “บ้านมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง ใต้ร่มพระบารมี” ที่ชุมชนซอยรามคำแหง 39 กรุงเทพฯ

รามคำแหง 39 / สำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ร่วมกับหน่วยงานภาคีจัดงานเนื่องในวันที่อยู่อาศัยโลก 2566 “บ้านมั่นคง ชุมชนเข้มแข็ง ใต้ร่มพระบารมี”

“บ้านมั่นคง...ใต้ร่มพระบารมี” ที่วังทองหลาง กรุงเทพฯ ต้นแบบชุมชนบนที่ดินสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์

ในยุคที่ที่ดินในกรุงเทพฯ มีราคาแพงระยับ โอกาสที่ผู้ที่มีรายได้น้อยจะมีที่อยู่อาศัยในเมือง มีบ้านเป็นของตัวเองคงจะมีไม่มากนัก แต่ที่ชุมชนย่านซอยรามคำแหง 39

เพิ่มเพื่อน