ป้ายกำกับ :

BA.4 และ BA.5

'อนามัยโพล' ชี้แนวโน้มคนไทยเริ่มผ่อนคลาย 3 พฤติกรรมป้องกันโควิด

นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย เปิดเผยว่า จากสถานการณ์โรคโควิด-19 สายพันธุ์ BA.4 และ BA.5 ที่อาจส่งผลให้มีแนวโน้มผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นนั้น การป้องกันตนเองด้วยหลัก UP (Universal Prevention) เพื่อลดความเสี่ยงของโรค

นายกฯ ไม่ประมาทโควิดสายพันธุ์ย่อย แม้อาการไม่รุนแรง เชื่อมั่นสาธารณสุขควบคุมได้

นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม ไม่ประมาท แม้จะได้รับรายงานทางการแพทย์ว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ BA.4 – BA.5

สธ.ตรวจพบสายพันธุ์ BA.4 และ BA.5 จำนวน 78% ในรอบสัปดาห์ กทม.มากสุด

นพ.ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถลงข่าวเฝ้าระวังโอมิครอนสายพันธุ์ BA.4และBA.5 ว่า จากการเฝ้าระวังโอมิครอนสายพันธุ์ต่างๆ ช่วงวันที่ 2-8 ก.ค. 2565 ตรวจกลุ่มตัวอย่าง 570 ราย พบเป็น BA.1 จำนวน 5 ราย ตามด้วย BA.2

สายพันธุ์ย่อยใดน่ากังวลสุด! พบ BA.2.38 ในไทยแล้ว 2 ราย

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก เกี่ยวกับการระบาดระลอกใหม่ของโอมิครอนสายพันธุ์ย่อยว่า

ศูนย์จีโนมฯ ชี้กลุ่ม 608 - ผู้มียีนกลายพันธุ์ จำเป็นต้องฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Center for Medical Genomics ว่า คำถามที่สอบถามศูนย์จีโนมฯ

คลัสเตอร์ปาร์ตี้! บุคลากรแพทย์ติดโควิดนับสิบ แนะ 6 ข้อ ก่อนไปงานเลี้ยง

รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ อาจารย์คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กว่า เมื่อวานทั่วโลกติดเพิ่ม 272,841 คน ตายเพิ่ม 479 คน รวมแล้วติดไป 548,924,518 คน เสียชีวิตรวม 6,350,753 คน

หมอจุฬาฯ เผยอาการผู้ป่วยโควิดที่พบมากขึ้นในช่วงนี้ รพ.เริ่มแน่นขึ้น แต่คนไข้หนักไม่เพิ่ม

ผศ.นพ.โอภาส พุทธเจริญ หัวหน้าศูนย์โรคอุบัติใหม่ทางคลินิก รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย โพสต์ข้อความบนเฟซบุ๊ก Opass Putcharoen กล่าวถึงโอมิครอนสายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 ว่า ขณะนี้กำลังเพิ่มขึ้นปนกับสายพันธุ์อื่นที่ระบาดก่อนหน้านี้

ศูนย์จีโนมฯ ชี้โอไมครอนสายพันธุ์ย่อย BA.4-BA.5 สร้างความกังวลทั่วโลก

ศูนย์จีโนมทางการแพทย์ชี้โอไมครอนสายพันธุ์ย่อย BA.4 และ BA.5 กำลังสร้างความกังวลไปทั่วโลก และมีแนวโน้มเข้าไปแทนที่สายพันธุ์ที่ระบาดอยู่

'นักไวรัสวิทยา'เผย เผลอแป๊บเดียวน้องใหม่ไฟแรง 'BA.4-BA.5' แย่งพื้นที่โอมิครอนรุ่นพี่เกือบครึ่งแอฟริกาใต้แล้ว

ข่าวดีตอนนี้คือ จำนวนผู้ป่วยหนักในแอฟริกาใต้ยังไม่สูงขึ้นอย่างผิดสังเกต ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะภูมิคุ้มกันจากการติดโอมิครอนรุ่นพี่กันมา หรือ อาจจะเป็นข่าวดีว่า BA.4 และ BA.5 อาจจะไม่รุนแรงไปกว่าโอมิครอนตัวอื่นๆก่อนหน้านี้

เพิ่มเพื่อน