ป้ายกำกับ :
นักไวรัสวิทยา
'นักไวรัสวิทยา' กระทุ้งถึงเวลาทบทวนวัคซีนป้องกันโควิด-19 ตัวใหม่
‘ดร.อนันต์’ชี้ไวรัสโควิดเปลี่ยนไวมาก โดยไปในทิศทางที่หนีภูมิจากวัคซีนเดิมไปเรื่อยๆ เผยอาจถึงเวลาต้องทบทวนการกระตุ้นด้วยวัคซีนตัวใหม่แบบจริงจังแล้ว
'ดร.อนันต์' แชร์ประสบการณ์การเขียนงานลงวารสารวิชาการ
‘ดร.อนันต์’ แชร์ประสบการณ์งานวิจัย ชี้ปกติจะไม่รู้ใครเป็นผู้ประเมินงาน ที่สำคัญจะไม่ติดต่อเพราะกลัวเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน บอกสุดงงเป็นเรื่องใหม่ที่ผู้เขียนติดต่อผู้ประเมิน
นักไวรัสวิทยา เผยผลวิจัย เหตุ BA.2.75 เข้ามาแทนที่ BA.5
ผลการศึกษาในงานวิจัยนี้พบว่า BA.2.75 โดดเด่นเรื่องความสามารถในการจับกับโปรตีนตัวรับ ACE2 บนผิวเซลล์ได้ดีกว่า BA.2 เดิมถึง 9 เท่า
กลุ่มเสี่ยงระวัง! WHO เผยยุโรปเข้าสู่ 'โควิดระลอกใหม่' แพร่กระจายพร้อมไข้หวัดใหญ่
ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักวิจัยด้านไวรัส และผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) โพสต์เฟซบุ๊ก
เอาแล้ว! นักไวรัสวิทยายกผลวิจัยล่าสุดชี้ยาฟาวิพิราเวียร์ไม่ควรใช้รักษาผู้ป่วยโควิด19
08 ก.ย.2565 – ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักไวรัสวิทยา ผู้อำ…
นักไวรัสวิทยา ยกเคสแรก ‘ผู้ป่วยฝีดาษลิง-โควิด-HIV-1’ เตือนให้ระวัง
วารสารวิชาการ Journal of Infection ได้รายงานเคสของผู้ป่วยฝีดาษลิงรายหนึ่งที่มีประวัติเดินทางกลับมาจากประเทศสเปน โดยขณะที่อยู่ที่นั่นได้มีกิจกรรมทางเพศแบบชายรักชายแบบไม่ป้องกัน 9
ข่าวดี! นักไวรัสวิทยา เผยประสิทธิภาพวัคซีนฝีดาษ ให้สัญญาณที่ดีในการป้องกันฝีดาษลิง
ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักไวรัสวิทยา ไบโอเทค โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Anan Jongkaewwattana ว่าข้อมูลนี้จาก Montreal ของแคนาดา
ดร.อนันต์แจงด่วน! ยันไทยมีผู้ติดฝีดาษวานรแค่รายเดียว
นักไวรัสวิทยาแจ้งเกิดความสับสน นำตัวอย่างเชื้อฝีดาษวานรจากคนละที่มาตรวจทำให้เข้าใจมีผู้ติดเชื้อ 2 ราย แท้ที่จริงยังมีแค่รายเดียว
ผงะ! ไทยพบผู้ป่วยฝีดาษลิงรายที่ 2 แล้ว
ดร.อนันต์เผยพบผู้ป่วยฝีดาษวานรรายที่ 2 แล้ว คาดติดมาจากชาวไนจีเรีย ซ้ำไม่ใช่สายพันธุ์หลักของโลก!
มีหนาว! นักไวรัสวิทยาบอกโอมิครอนเปลี่ยนตัวเองฉับพลันมาก
นักไวรัสวิทยาชี้ไวรัสมีการกลายพันธุ์และเปลี่ยนตัวเองเร็วมาก เผย BA.5 ต่างจาก BA.1 แบบไม่เห็นหลัง ต่อไปอาจเจอสายพันธุ์ใหม่อีกพรึ่บ
นักไวรัสวิทยา พบข้อมูลตรวจหาไวรัสฝีดาษลิง ใช้สวอปเหมือนโควิดได้
การตรวจหาไวรัสฝีดาษลิงอาจใช้ตัวอย่างจากการ swab คอ เหมือนที่เก็บตัวอย่างตรวจโควิดได้ ไม่จำเป็นต้องรอให้ผื่น
นักไวรัสวิทยา โชว์ผลวิจัยออสเตรเลีย เปรียบเทียบคุณสมบัติไวรัส BA.5 กับ BA.1-BA.2
นักไวรัสวิทยา ระบุทีมวิจัยในออสเตรเลียได้เปรียบเทียบคุณสมบัติของไวรัส BA.5 เทียบกับ BA.1 และ BA.2 ในห้องปฏิบัติการ และ พบว่าไวรัส BA.5 มีการเปลี่ยนแปลงที่แตกต่างออกไปจากเดิม
'นักไวรัสวิทยา' ชี้โลกถึงเวลา update วัคซีนโควิด-19 ใหม่
21 มิ.ย.2565- ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา นักไวรัสวิทยา ไบโอเ…
หนาวแน่! นักไวรัสวิทยาบอกวัคซีนฝีดาษคนที่โม้ว่าป้องฝีดาษลิงได้ข้อมูลแสนเก่า
มีหนาวกันทั้งบาง! นักไวรัสวิทยาเผยที่อ้างว่าวัคซีนป้องฝีดาษคนใช้ป้องฝีดาษลิงได้ 85% นั้นเก่าคร่ำครึ นานกว่า 40 ปีแล้ว อาจต้องตรวจสอบใหม่ ซ้ำร้ายไวรัสยังพัฒนาไปไกล
นักไวรัสวิทยาชี้ 'ฝีดาษลิง' เทียบ 'อีสุกอีใส' ไม่ได้
‘ดร.อนันต์’ ชี้ฝีดาษลิงถือเป็นความท้าท้ายใหม่ของนักไวรัส เพราะยังไม่มีอะไรชัดเจน ระบุชัดเอาไปเทียบ
‘อีสุกอีใส’ ไม่ได้ เพราะคนละตระกูล
นักไวรัสวิทยาชี้เด็กติดโควิดแล้วตับอักเสบปริศนาน่าสนใจ!
ดร.อนันต์ยกผลวิจัยต่างชาติสาเหตุที่เด็กเกิดตับอักเสบปริศนาหลังติดโควิด-19 บอกให้รอดูรายละเอียดต่อ
นักไวรัสวิทยาชี้ COVOVAX 2 เข็มก็ไม่ต้านโอมิครอน
นักไวรัสวิทยาบอก COVOVAX ก็ไม่ต่างจาก NOVAVAX ซึ่งผลของ NOVAVAX นั้น 2 เข็มยังไม่พอป้องกันโอมิครอน เหมือนวัคซีนตัวอื่นๆ
นักไวรัสวิทยาเผยข่าวดี! โมเดอร์นาพัฒนาวัคซีนรุ่น 2 คืบหน้ามาก
นักไวรัสวิทยาเผยข่าวดี ก่อนโอมิครอนระบาดโมเดอร์นาได้พัฒนาวัคซีนรุ่น 2 แล้ว และเริ่มทดสอบในอาสาสมัครไปถึงเฟส 2 ซึ่งผลเบื้องต้นป้องกันสายพันธุ์ดั้งเดิมและโอมิครอนได้ดีกว่าแบบแรก
ดร.อนันต์ เผยทีมวิจัยจีนพบสาเหตุผู้ป่วยโควิดอาการหนัก มีปริมาณของเม็ดเลือดขาวลดลง
นักไวรัสวิทยา ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก
'นักไวรัสวิทยา'เผย เผลอแป๊บเดียวน้องใหม่ไฟแรง 'BA.4-BA.5' แย่งพื้นที่โอมิครอนรุ่นพี่เกือบครึ่งแอฟริกาใต้แล้ว
ข่าวดีตอนนี้คือ จำนวนผู้ป่วยหนักในแอฟริกาใต้ยังไม่สูงขึ้นอย่างผิดสังเกต ส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะภูมิคุ้มกันจากการติดโอมิครอนรุ่นพี่กันมา หรือ อาจจะเป็นข่าวดีว่า BA.4 และ BA.5 อาจจะไม่รุนแรงไปกว่าโอมิครอนตัวอื่นๆก่อนหน้านี้