ป้ายกำกับ :

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การประชุมความร่วมมือทางด้านกฎหมายระหว่างกระทรวงร่างกฎหมายของสาธารณรัฐเกาหลี (Ministry of Government Legislation (MOLEG)) กับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

เมื่อวันจันทร์ ที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๕ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา โดยกองกฎหมายต่างประเทศ ร่วมกับกองพัฒนากฎหมาย กองหลักนิติบัญญัติ

แนวคิดในการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

โดยที่พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มีหลักการบางประการที่ยังขาดความชัดเจน ไม่เหมาะสม หรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ผลการดำเนินงานที่สำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา

การตรวจพิจารณาร่างกฎหมายที่จะช่วยเหลือ บรรเทาความเดือดร้อน และแก้ไขข้อขัดข้องในการดำเนินชีวิตของประชาชน ถือเป็นหัวใจสำคัญที่สำนักงานฯ

พัฒนาการของกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนและการได้มาซึ่งอสังหาริมทรัพย์

นับแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีผลบังคับใช้ กระบวนการตรากฎหมายของไทยได้มีการปรับเปลี่ยนวิธีการดำเนินการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยสร้างและสนับสนุน

ติดต่อราชการออนไลน์สะดวกรวดเร็ว กับกฎหมายการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์

เคยไปติดต่อราชการด้วยตนเอง แล้วพบความยากลำบากเกินควรไหมครับ? เสียทั้งเวลาเดินทาง เวลาต่อคิวเป็นวัน ๆ เสียทั้งเงินทอง ไม่ว่าจะค่าเดินทาง ค่าถ่ายเอกสาร

ความสำคัญของการยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค พ.ศ. 2534

ที่ผ่านมามักมีการใช้เช็คในการทำธุรกรรมแทนเงินสด เนื่องจากมีความสะดวกและปลอดภัยจากการไม่ต้องพกเงินสดจำนวนมาก แต่ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการใช้เช็คคือปัญหา “เช็คเด้ง”

ความร่วมมือด้านกฎหมายระหว่างประเทศเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นเจ้าภาพร่วมกับสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการจัดประชุม 15th APEC Conference on Good Regulatory Practice (GRP15)

การยกเลิกกฎหมายที่หมดความจำเป็นหรือซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่น

สิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้รับการรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยรัฐจะดำเนินการที่กระทบกระเทือนต่อสิทธิเสรีภาพดังกล่าวได้ก็ต่อเมื่อมีกฎหมายให้อำนาจเท่านั้น

การรับฟังความคิดเห็นและวิเคราะห์ผลกระทบก่อนการออกกฎ

โดยธรรมชาติแล้ว “กฎหมาย” (ในที่นี้หมายถึง กฎหมายระดับพระราชบัญญัติ หรือกฎหมายแม่บท อาทิ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด

กฤษฎีกากับบทบาทภารกิจการเผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมาย

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในฐานะที่ปรึกษากฎหมายของรัฐมีหน้าที่หลักในการจัดทำกฎหมายและให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วยงานของรัฐ

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกากับความร่วมมือ OECD เพื่อพัฒนางานด้านกฎหมายของประเทศ

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ประเทศไทย โดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เข้าร่วมเป็นสมาชิกคณะกรรมการนโยบายกฎระเบียบ (Regulatory Policy Committee)

การเร่งรัดจัดทำร่างกฎหมายที่สำคัญเพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในไตรมาสแรกของปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้จัดทำร่างกฎหมายสำคัญโดยแก้ไขให้สอดคล้องกับกฎการต่อต้านการใช้สารต้องห้ามโลก ปี 2015 (2015 World Anti – Doping Code : WADC)

สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกากับความท้าทายในการปฏิบัติงานยุค New Normal

เป็นเวลาเกือบสองปีแล้วที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหานานัปการจากโรคโควิด-19 ซึ่งกระทบต่อการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน

เพิ่มเพื่อน